วันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2563

Waveform base analysis in ventilator

Waveform base analysis in ventilator แบ่งเป็น 4 เฟส 
1. Trigger phase : ผู้ป่วยเริ่มดึง(กระตุ้น) เครื่อง -- > เครื่องเปลี่ยนจากหายใจออกเป็นหายใจเข้า
2. Inspiratory phase : เครื่องเริ่มจ่ายอากาศระยะหายใจเข้า
3. Cycling phase : ช่วงเปลี่ยนหายใจเข้าเป็นออก
4. Expiratory phase : เครื่องปล่อยให้ผุ้ป่วยหายใจออกและรอเครื่อง trigger



Mechanical Ventilation- Phases of a breath- I:E ratio and total cycle time. : 

วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563

Weaning from Mechanical ventilator

Weaning from Mechanical ventilator
1. ดูว่าผู้ป่วยพร้อม weaning แล้วหรือไม่ : ดูจากหมด indication ในการ on ventilator หรือยัง
     1.1 Respiratory failure due to Hypoxia
     1.2 Respiratory failure due to hypercapnia
     1.3 Post operation
     1.4 Shock
2. ประเมินความพร้อม weaning 

3. ทดสอบการหายใจ 
    2.1 on pressure support mode: Low PEEP
    2.2 on T piece
* ไม่ควรทำนานเกิน 2 ชม
* หากมีอาการซึมลง  เหงื่อแตก 
RR> 35 / เพิ่มมากกว่า 50 %
HR >140 / เพิ่มมากกว่า 20 %
SBP >180 < 90 / เพิ่มมากกว่า 20 %

4. ถอดท่อช่วยหายใจ
- หลังถอดท่อช่วยหายใจผ่าน ควรเฝ้าระวังภาวะ Post extubation laryngeal edema (PLE)
- ในคนที่มีความเสี่ยงสูงควรได้รับการทดสอบ ด้วย cuff leak test ก่อน off ETT
- หาก cuff leak test ไม่ผ่าน ควรให้ steroid IV
    eg: Dexamethazone  5 mg x4 dose, methypred 20 mg* 3 dose เป็นต้น 

5. หลังถอดท่อช่วยหายใจ
 - อาจพิจารณาใช้ Non invasive ventilation หรือ high flow nasal cannular ในผู้ป่วยความเสี่ยงสูง



Heparin induce Thrombocytopenia

Heparin induce Thrombocytopenia(HIT)

เกิดจาก หลังการได้ heparin, LMWH หรือ unfractionated heparin เกิดจากการสร้าง platelet activating igG antibody ต่อ platelet factor 4 เรียกง่ายๆ ว่า HIT Ab 
แบ่งเป็น
1. HIT type I:  เกร็ดเลือดมักต่ำตั้งแต่วันแรกๆ platelet ยังลดไม่มาก และ ไม่เกิด thrombosis เนื่องจาก ยังไม่เกิดการสร้าง Ab complex
2. HIT type II: เกิดการสร้าง Ab ต่อ PF/heparin complex แล้วทำให้มี thrombosis ได้

การวินิจฉัย 
ใช้  4T score (Thrombocytopenia, timing, Thrombosis, other cause of thrombocytopenia)


การ confirm diagnosis มี 2 วิธี คือ
1. Platelet activation assay(Functional assay) : gold standard คือ serotonin release assay (SRA)
sense spec ดี แต่ต้องใช้กัมมันตรังสี ใช้เวลาในการตรวจนาน
2. PF4-dependent immunoassay : ใช้วิธี Enzyme immuno assay หรือ rapid immuno assay 
sense สูง spec ต่ำกว่า Platelet activation assay แต่ไม่ยุ่งยาก รู้ผลเร็ว

การรักษา จำง่ายๆ 3 DO 3DONT 3 DIAGNOSIS
1. 3 DO : 
   1.1  STOP HEPARIN
   1.2  GIVE FONDAPARINUX
   1.3  RECORD HIT 
2. 3 DONT : 
   2.1  DONT GIVE WARFARIN ขณะ plt ต่ำ
   2.2  DONT GIVE PLATELET
   2.3  DONT INSERT IVC FILTER
3. 3 DIAG
   3.1  CONFIRM DX HIT
   1.2  CONFIRM DX DIC พบร่วมกันได้
   1.3  US R/O DVT


วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2563

Hepatic encephalopathy

Diagnosis
1. Alteration of consious
2. Abnormal movement: asterixis, flapping tremor, frog leg
3. Fetor hepaticus

Management
1. Lactulose : เพิ่มการขับ ammonia ออกทางอุจจาระ
       Dose: 30- 45 ml PO q 6-8 hr จนกว่าจะอุจจาระ 2-3 ครั้ง / day (Prophylaxis)
       30- 45 ml PO q 1 hr จนกว่าจะอุจจาระ แล้วต่อด้วย 30- 45 ml PO q 6-8 hr จนกว่าจะอุจจาระ 2-3 ครั้ง / day (Treatment)
2. Rifaximin(second line tx) เป็น ATB  ที่ช่วยลด flora ที่สร้าง ammonia/ อีกตัวที่ใช้คือ neomycin
3. Diet: ถ้า chronic HE ไม่มีความจำเป็นต้องลด แต่ถ้า acute HE  ต้องลด 0.5 g/ Kg/day

Esophageal varice bleeding

Management

1. Airway management : ETT ในผู้ป่วยที่มี massive bleeding และ hematemesis เสี่ยงต่อการสำลัก
2. Resuscitation and blood component transfusion
3. NG tube lavage ประเมิน Activeness and decompressive stomach
4. EGD: Diagnosis and treatment --> rubber band ligation, sclerotherapy
5. Somatostatin analogue (Octreotide) 25-50 mcg/hr IV drip 1-5 d ช่วยลด portal pressure มักใช้ร่วมกับ endoscopic treatment
6. Propranolol: ลด portal p. ลด& risk bleeding เริ่ม 10mg O q 8 hr tritrate dose ลด resting rate 25 %
7. ATB prophylaxis : Ciprofloxacin, norfloxacin, ceftriaxone x 7 d
8. Fail endoscopic treatment: พิจารณาห้ามเลือดชั่วคราวด้วย balloon temponade    ประเมินการรักษาวิธีอื่น ด้วย Shunt Vs non shunt / TIPS

วันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2563

Complication of liver surgery and liver trauma

Complication of liver surgery and liver trauma
1. Bleeding:
a. Cause:
i. inadequate intraoperative homeostasis
ii. coagulopathy
b. Post hepatectomy hemorrhage
i. พบ Hb ลดลง มากกว่า 3 g /dL
ii. แบ่งเป็น 3 grade
1. A: Require PRC 2 U
2. B: Require PRC > 2 U + no invasive intervention
3. C: ต้องการ invasive intervention เช่น embolization, re explor
2. Fever
a. Cause
i. Post operative collection
ii. Abscess  Drainage + ATB
iii. Liver necrotic  sepsis มากๆ ต้อง debride necrotic liver
3. Bile leakage
a. รูใหญ่ หรือ รูเล็ก
i. รูเล็ก: มาจาก liver raw surfaceท่อน้ำดีเล็กๆ
1. Mx: supportive
ii. รูใหญ่: >400 ml/d / ออกมากกว่า 14 วัน
1. Mx : PTBD/ERCP c Biliary drainage
4. Hepatic pseudoaneurysm
a. อาการ Hemobillia: Quinke triad: upper abdominal pain, UGIB, Jaundice
b. Mx Surgery / embolization
5. Post op liver failure
a. Future liver remnant
i. Normal liver : > 20 - 30 %
ii. Cirrhosis : > 30-40 %
b. ถ้า Future liver remnant ไม่พอ portal V embolization เพื่อเพิ่ม liver volume

Surgical stomach complication